1. จำนวนเส้นด้ายที่โพ้ง -3 -4 เส้นด้าย ปรับตะเข็มเย็บได้หลายขนาดตั้งแต่ 3 - 7 mm. ยิ่งจำนวนมากตะเข็บยิ่งเข็งแรงและเพิ่มลูกเล่นให้สวยงามได้ |
ผ้าด้านหน้าเห็นเส้นห่วง upper loopper พลิกผ้าด้านหลังจะเห็นเส้นห่วง lowe loopper 2 เส้นนี้จะเกี่ยวเป็นห่วงและมีเส้นเข็มเย็บ Right needle ยึดห่วงเพื่อความแข็งแรง |
มีลักษณะด้ายคล้ายกับแบบที่ 3 เส้นด้าย แต่เพิ่มเส้นเย็บของเข็ม Left needle อีก 1 เส้น เพื่อยึดห่วงไว้ เพิ่มความเเข็งแรง ของตะเข็มมากขึ้น และเพิ่มความกว้างของฝีเข็ม |
2. ปุ่มปรับความตึงด้าย ใช้ปรับแรงตึงด้ายให้เหมาะสมกันเนื้อผ้าแต่ละชนิด จักรโพ้งที่ดีควรมีปุ่มปรับที่เส้นด้ายร้อยผ่านปุ่มในตัวเครื่อง ไม่ควรร้อยออกมาด้านนอกตัวจักร เพราะจะทำให้ด้ายขยับง่าย เช่น โดนลมพัดเป่า ทำให้ต้องปรับแรงตึงใหม่บ่อยๆ เสียเวลา และตะเข็บเย็บไม่สวย |
3. วิธีการร้อยด้าย
- จักรโพ้งอุตสาหกรรมจะร้อยด้ายยากมาก ใช้เวลาไม่ต่ำกว่า 15 นาที กว่าจะร้อยด้ายเสร็จพร้อมใช้งาน
- จักรโพ้งบราเดอร์ ร้อยด้ายง่ายมากๆ เพราะมีหมายเลขกำกับให้ร้อยด้ายตามลำดับ ไม่มีส่วนที่ร้อยผ่านในตัวเครื่อง
ที่ตาเรามองไม่เห็นเหมือนจักรอุตสาหกรรม
|
4. ปุ่มปรับฟันจักร ถ้ามีปุ่มนี้ จะสามารถป้อนผ้าให้รูดได้ในขั้นตอนเดียว หรือเย็บต่อตะเข็บรูดระบายได้ใน 2 ขั้นตอน ซึ่งถ้าใช้จักรเย็บจะต้องทำ 3 หรือ 4 ขึ้นตอนทั้งยากกว่าและช้ากว่าด้วย |
1. มีไฟ LED แสงขาว ถนอมสายตาส่องตะเข็บเย็บง่าย
2. ร้อยด้ายง่ายมากๆ
3. เสาประครองหลอดด้าย ปรับระดับความสูงได้
4. เย็บผ้าทรงกระบอกได้ เช่น ขากางเกง แขนเสื้อ
5. ตะเข็บเย็บได้ทั้งหมด 9 แบบ ซึ่งทำงานได้มากหลากหลาย
6. รับประกัน 2 ปี โดยศูนย์บริการบราเดอร์ ประเทศไทย
|
" ตัวอย่างตะเข็บแบบต่างๆ
จากจักร brother รุ่น 2104-D "
|
จักรโพ้ง 2104D จาก PINNSHOP
โพ้งผ้าลื่นๆ/ผ้าซาติน/ผ้ายืด
ผ้าแก้ว/ผ้าชีฟอง
ผ้ายีนส์ ฯลฯ ได้สบาย
ชมคลิปรีวิวนะคะ